- Outgoing Mail Server (SMTP): smtp.gmail.com
- Encrypted connection (SSL) on port 465.
Hotmail
- POP3 - pop3.live.com (logon using Secure Password Authentification - SPA, mail server port: 995)
- SMTP - smtp.live.com (TLS enabled, port 587)
Yahoo! Mail
- POP3 - pop.mail.yahoo.com (SSL enabled, port 465)
- SMTP - smtp.mail.yahoo.com (SSL enabled, port 995)
POP Yahoo! Mail Plus
- POP3 - plus.pop.mail.yahoo.com (SSL enabled, port 995)
- SMTP - plus.smtp.mail.yahoo.com (SSL enabled, port 465, use authentication)
Google GMail
- POP3 - pop.gmail.com (SSL enabled, port 995)
- SMTP - smtp.gmail.com (TLS enabled, port 587)
MSN Mail
- POP3 - pop3.email.msn.com (port 110, using Secure Password Authentication - SPA)
- SMTP - smtp.email.msn.com (select "My outgoing server requires authentication")
Lycos Mail
- POP3 - pop.mail.lycos.com (port 110)
- SMTP - smtp.mail.lycos.com or use your local ISP SMTP mail server
AOL Mail
- IMAP - imap.aol.com (port 143)
- SMTP - smtp.aol.com or use your local ISP SMTP mail server
Mail.com
- POP3 - pop1.mail.com (port 110)
- SMTP - local ISP SMTP mail server
Freeserve Mail
- POP3 - pop.freeserve.com (port 110)
- SMTP - local ISP SMTP mail server
โครงร่างวิทยานิพนธ์ Crowdsourcing
หมายเหตุ กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาโครงร่าง คงใช้เวลาอีกพอสมควรจึงจะได้โครงร่างที่สมบูรณ์
การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคมออนไลน์
(Health Information System Development With Participation By Social Networking)
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
กระแสโลกยุคใหม่ในทศวรรษที่ 21 ได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเต็มรูปแบบโดยการเชื่อมโยงอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบเข้าด้วยกันด้วยระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่นับวันจะมีความเร็วสูงมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งเครือข่ายดาวเทียม ใยแก้วนำแสง 3G แลพ LTE ทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลและสารสนเทศเข้าด้วยกันได้อย่างรวดเร็ว เราสามารถค้นหาข้อมูลหรือจัดการกับข้อมูลได้ด้วยความรวดเร็วและไม่จำกัดสถานที่ สามารถทำงานกับข้อมูลได้แม้จะอยู่นอกสำนักงาน และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากทุกที่ทุกเวลา
เทคโนโลยีเหล่านี้ได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในรูปแบบที่หลากหลาย โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสุขภาพ เช่น
- การจัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ (E-Learning) ซึ่งเป็นการพัฒนาความรู้โดยประยุกต์ใช้ร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- การศึกษาทางไกล (Distance Education) ที่ โฮน์นิชและคณะ (1993:282)ตรวจสอบเอกสารอ้างอิงด้วย ได้ให้ความหมายของการศึกษาทางไกลว่า "เป็นการศึกษาที่มีลักษณะที่ผู้เรียนอยู่ห่างไกลจากผู้สอนโปรแกรมการเรียนได้รับการจัดวางเป็นระบบ มีการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและการสื่อความหมายเป็นไปแบบสองทาง" บอร์ก โฮล์มเบิร์ก (1989:127) ตรวจสอบเอกสารอ้างอิงด้วย กล่าวว่า "หมายถึง การศึกษาที่ผู้เรียนและผู้สอนมิได้มาเรียนหรือสอนกันซึ่ง ๆ หน้า แต่เป็นการจัดโดยระบบสื่อสารแบบสองทาง ถึงแม้ผู้เรียนและผู้สอนจะไม่อยู่ในห้องเดียวกันก็ตาม" วิจิตร ศรีสอ้าน (2529:5-7) ตรวจสอบเอกสารอ้างอิงด้วย กล่าวว่า "หมายถึงระบบการเรียนการสอนที่ไม่มีชั้นเรียน แต่อาศัยสื่อประสมอันได้แก่สื่อทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และการสอนเสริม รวมทั้งศูนย์บริการการศึกษาเป็นหลัก โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอยู่กับบ้านไม่ต้องมาเข้าชั้นเรียนตามปกติ" และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศยิ่งทำให้เกิดความสะดวกในการศึกษาทางไกลเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
- การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ซึ่งเป็นการนำเอาความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมมาประยุกต์ใช้กับงานด้านการแพทย์ในการวินิจฉัยโรค รักษา หรือเฝ้าระวังผู้ป่วย ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนสนเทศส่งผลอย่างมากกับการจัดการข้อมูล ประเทศไทยกับการก้าวตามเทคโนโลยีของโลก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540หมวดที่ 5 ว่าด้วยแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 76ได้ระบุไว้ว่า “รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุกระดับ” แสดงให้เห็นถึงปรัชญาของรัฐธรรมนูญที่มีเจตนารมณ์ประชานชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการทำงานกับภาครัฐ ทั้งเพื่อถ่วงดุลย์ คานอำนาจ ตราจสอบอำนาจ ซึ่งเจตนารมณ์นี้เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญต่อกระบวนการทำงานร่วมกันของภาครัฐกับภาคประชาชน เพื่อให้ประเทศไทยได้เป็นประชาธิปไตย์อย่างสมบูรณ์ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในอนาคต พระราชบัญญัติข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
การลงทุนของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในด้านระบบข้อมูลสุขภาพมีสูงทั้งเงินและความหลากหลายของระบบ
ค่าใข้จ่ายทางด้านสุขภาพของภาครัฐและประชาชน สามารถลดได้ด้วยการจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพ
กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพของหลายองค์กรในภาครัฐ
กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพภาคประชาชน
ความสำคัญของ Social Networking เครือข่ายสังคมออนไลน์
Social Networking กับการพัฒนาฐานข้อมูลร่วมกัน
คำถามวิจัย
- การมีส่วนร่วมมีผลต่อการดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพหรือไม่
- รูปแบบการมีส่วนร่วมที่ต่อผลการดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพเป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนารูปแบบระบบงานข้อมูลสุขภาพโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคมออนไลน์
- เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมต่อผลการดำเนินงานระบบสุขภาพ
- เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบระบบงานข้อมูลสุขภาพ (ตัดทิ้งแต่ยังคงมีอยู่ในการทบทวนวรรณกรรม)
สมมติฐานการวิจัย
- การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีผลต่อการดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพ
- รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียมีผลต่อการดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพ
มีคนแนะนำว่าให้เลิกใช้ swap หาก RAM หมด ก็ปล่อยให้มันเดี้ยง ดีกว่าให้มันเขียนลง swap วันนี้ก็เลยลองของสักหน่อย พรุ่งนี้ก็จะรู้ผล
วิธีการคือ
ปิดมันทุก swap
root@god# swapoff -a
ปิด swap เฉพาะ
root@god# swapoff /dev/partition
โดยดู partition จาก
root@god# fdisk -l
หากอยากให้ปิดถาวรก็ต้องแก้ไขใน /etc/fstab
เจอกับฝนตกหนัก คนหาดใหญ่กลัวน้ำท่วม เข้ามาเว็บเต็มที่ ล่มเลย
ตายที่ 1000 คน ด้วย RAM 2GB เป็นจริงไหม หากเพิ่มแรมเป็น 10GB จะรับได้เป็น 5000 คน
หรือ config mysql ?
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า
เปลี่ยน DNS hatyaicityclimate.org และ www.hatyaicityclimate.org ไปยัง Cloud sited.hatyaicityclimate.org ล่มภายใน 5 นาที (เช่า RAM ไว้น้อยเกิน 1GB)
เปลี่ยน DNS hatyaicityclimate.org และ www.hatyaicityclimate.org ไปยัง sitea.hatyaicityclimate.org (อยู่กรุงเทพ) รับไหว คนดู 900 คน (RAM 16GB)
site หลักยังล่มอยู่ พยายาม ssh ไม่เข้า directadmin เข้าช้ามาก จะเข้าไปเปิด apache service แต่เข้าไม่ได้เลย
โทรไปแจ้ง CAT ให้ช่วย hard reboot ให้หน่อย (แต่ไม่แน่ใจว่าเขา reboot ให้หรือเปล่า ดูจากเวลาที่เครื่องเปิดอยู่ เหมือนกับยังไม่ได้ reboot)
พยายามเข้า directadmin จนเข้าไปได้ รีบปิด apache service ก่อนเลย โหลดหาย
RAM 2GB ใช้หมด แถม swap อีก 2GB ตายกับตรงนี้ I/O เอาไม่ทัน
dump database มาเก็บไว้วิเคราะห์ ดู slow query log
คาดว่าปัญหาน่าจะอยู่ที่คอขวดของ mysql กับ I/O
ลองย้าย hatyaicityclimate.org มาก่อน (คนทั่วไปมักจะเข้าเว็บ www ซึ่งก็เป็นอย่างนั้นจริง ๆ) เริ่มมีคนกลับมาทีละน้อย ยังรับไหว
เช็คยอดคนดูในแต่ละ site เรื่อย ๆ จนคาดว่าน่าจะรับไหว เลยย้าย www.hatyaicityclimate.org กลับมา server หลัก
21.24 น. ยังมีชีวิตอยู่
ผมเพิ่งรู้ว่าใส่แค่นี้ก็เต็มจอแล้ว <meta name="apple-mobile-web-app-capable" content="yes" /> แต่เจ้าของเว็บต้องทำเอง
เพิ่งรู้ครับ
ที่มา blognone.com
DirectAdmin ตั้งแต่เวอร์ชัน 1.39 เป็นต้นไป ได้เพิ่มความสามารถในการตรวจสอบการ Brute Force หรือการเดาสุ่มรหัสผ่านไปเรื่อยๆ (รายละเอียด) แต่สิ่งหนึ่งที่ DirectAdmin ไม่ได้ทำมาให้คือ ทำการแบนไอพีที่มา Brute Force เราโดยอัตโนมัติ ทำให้ DirectAdmin ทำได้เพียงแค่แจ้งเตือนว่ามีไอพีใด Brute Force เครื่องเราเรื่อยๆ โดยไม่ได้มีประโยชน์อันใดเพิ่มขึ้นมา (นอกจากทำให้รำคาญอีเมลแจ้งเตือน) เพราะฉะนั้นบทความนี้จะมาบอกถึงขั้นตอนทำให้ DirectAdmin แบนไอพีที่มา Brute Force โดยอัตโนมัติ โดยลินุกซ์ดิสโทรที่ผมใช้คือ Debian 6 64-bit ถ้าใช้ CentOS ลองทำตามขั้นตอนที่นี่ดูครับ
ขั้นแรกให้ลง iptables ก่อนด้วยคำสั่ง
apt-get install iptables
จากนั้นเราจะสร้างสคริปต์ blockip.sh ไว้ที่ /usr/local/directadmin/scripts/custom/blockip.sh โดยมีเนื้อหาตามนี้ครับ
#666666; font-style: italic;">#!/bin/sh
curriptables#7a0874; font-weight: bold;">(#7a0874; font-weight: bold;">) #7a0874; font-weight: bold;">{ #7a0874; font-weight: bold;">echo #ff0000;">"<br><br><textarea cols=160 rows=60>"; #000000; font-weight: bold;">/sbin#000000; font-weight: bold;">/iptables #660033;">-nL#7a0874; font-weight: bold;">echo #ff0000;">"</textarea>"; #7a0874; font-weight: bold;">}
#666666; font-style: italic;">### Make sure it's not already blocked #007800;">COUNT=#000000; font-weight: bold;"></span><span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/c20cb9">#c20cb9</a>; font-weight: bold;">grep</span> <span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/660033">#660033</a>;">-c</span> <span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/007800">#007800</a>;">$ip</span> <span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/000000">#000000</a>; font-weight: bold;">/</span>etc<span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/000000">#000000</a>; font-weight: bold;">/</span>network<span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/000000">#000000</a>; font-weight: bold;">/</span>iptables.save<span style="color: <a class="hashtag" href="/tags/000000">#000000</a>; font-weight: bold;">
;#000000; font-weight: bold;">if #7a0874; font-weight: bold;">[ #ff0000;">"#007800;">$COUNT" #660033;">-ne #000000;">0 #7a0874; font-weight: bold;">]; #000000; font-weight: bold;">then #7a0874; font-weight: bold;">echo #ff0000;">"#007800;">$ip already exists in iptables (#007800;">$COUNT). Not blocking."; curriptables #7a0874; font-weight: bold;">exit #000000;">2;
#000000; font-weight: bold;">fi
#7a0874; font-weight: bold;">echo #ff0000;">"Adding #007800;">$ip to iptables...<br>"; #000000; font-weight: bold;">/sbin#000000; font-weight: bold;">/iptables #660033;">-I INPUT #660033;">-s #007800;">$ip #660033;">-j DROP#000000; font-weight: bold;">/sbin#000000; font-weight: bold;">/iptables-save #000000; font-weight: bold;">> #000000; font-weight: bold;">/etc#000000; font-weight: bold;">/network#000000; font-weight: bold;">/iptables.save
#7a0874; font-weight: bold;">echo #ff0000;">"<br><br>Result:"; curriptables#7a0874; font-weight: bold;">exit #000000;">0;
เสร็จแล้วรันคำสั่ง
chmod 700 /usr/local/directadmin/scripts/custom/block_ip.sh
ซึ่งสคริปต์นี้จะทำให้เราสามารถสั่ง block ip ผ่านหน้าจัดการใน DirectAdmin ได้ โดยให้ไปที่เมนู Brute Force Monitor แล้วกดลิงก์ IP Info ของไอพีที่เราต้องการบล็อก หลังจากนั้นให้กดปุ่ม Block This IP ที่ด้านล่างสุด
ถ้าต้องการให้ iptables ถูก restore ข้อมูลใหม่ทุกครั้งที่ reboot เครื่อง ให้ใส่
post-up iptables-restore /etc/network/iptables.save
ลงไปที่ด้านท้ายของไฟล์ /etc/network/interfaces
ถ้าต้องการให้ DirectAdmin ทำการ block ip อัตโนมัติ โดยไม่ต้องมากดปุ่ม Block This IP เอง ให้สร้างไฟล์ /usr/local/directadmin/scripts/custom/bruteforcenotice_ip.sh และใส่เนื้อหาตามนี้
#!/bin/sh SCRIPT=/usr/local/directadmin/scripts/custom/block_ip.sh ip=$value $SCRIPT exit $?;
เสร็จแล้วรันคำสั่ง
chmod 700 /usr/local/directadmin/scripts/custom/brute_force_notice_ip.sh
โดยจำนวนการ Brute Force ก่อนที่จะโดน block ip นั้น สามารถตั้งได้ที่เมนู Administrator Settings > Notify Admins after an IP has และใส่จำนวนที่ต้องการลงไปครับ
ถ้าต้องการยกเลิก block ip อาจจะต้องเข้ามาพิมพ์คำสั่งยกเลิกด้วยตัวเองไปก่อนครับ ด้วยคำสั่งนี้
iptables -D INPUT -s xxx.xxx.xxx.xxx -j DROP iptables-save > /etc/network/iptables.save
เปลี่ยน xxx.xxx.xxx.xxx เป็น ip ที่เราต้องการยกเลิก block
ที่มา: วิธีการตั้งค่าให้ DirectAdmin Block IP อัตโนมัติเมื่อตรวจพบการ Brute Force บน Debian 6 64-bit , I wish to have a block_ip.sh so I can block IPs through DirectAdmin , How to block an IP in Linux
ปัญหาที่เจอเวลาคลิก share จากหน้าเว็บของเราไป social network ของ Facebook หรืแ Google+ แล้วหัวข้อ หรือ ข้อความ ยาวเกินไป หรือไม่ตรงกับความเป็นจริง
เพิ่งรู้ว่ามันมี The Open Graph Protocol เพื่อให้ social network มันอ่านแล้วเข้าใจ
ให้แทรก meta tag ไว้ใน head คือ
<meta property="og:title" content="ชื่อเรื่องหรือหัวข้อ" /> <meta property="og:type" content="website" /> <meta property="og:url" content="http://www.softganz.com/paper/1" /> <meta property="og:image" content="http://www.softganz.com/upload/pics/DSCN0179.jpg" /> <meta property="og:description" content="รายละเอียดอย่างย่อ" />
ที่มา The Open Graph Protocol , How to Create Google+ Snippet
ไม่มีอะไรมาก แค่อยากบันทึกว่า เวลาเขียน script ภาษา php แล้วต้องการ run ด้วย crontab ซึ่งจะต้องระบุ path ของ php ให้ถูกต้อง ไม่อย่างนั้นมันก็จะ run ไม่ได้
ซึ่ง path ของ php ของ Directadmin ก็คือ /usr/local/bin/php และก็แค่นั้นเอง
เรื่อง : ที่นี่ ท.เมือง(คลองแห)
สถานที่ : เทศบาลเมืองคลองแห อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
รายละเอียด : ที่นี่ เทศบาลเมือง(คลองแห) นำเสนอโดยประชาชน(คนธรรมดา)
เพลงนี้ดัดแปลงมากจากเพลงน้ำท่วม คำร้อง/ทำนอง โดยไพบูลย์ บุตรขัน และ ศรคีรี ศรีประจวบเป็นคนขับร้องครับ หลังจากนั้นก็มี คุณอ๊อด โอภาสทศพร ร้องต่อมา
ที่มา ipattt.com