ค่าธรรมเนียมตลาดหุ้น
อัตราค่าคอมมิชชั่น
อัตราค่าธรรมเนียมซื้อขายหลักทรัพย์เป็นแบบอัตราขั้นบันได ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป
มูลค่าการซื้อขายต่อวัน (X) (หน่วย : บาท) | การซื้อขายแบบทั่วไปของแต่ละประเภทบัญชี | การซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ต บัญชี Cash | การซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ต บัญชี Cash Balance หรือ Credit Balance |
---|---|---|---|
X = 5 ล้าน | 0.250% | 0.200% | 0.150% |
5 ล้าน < X = 10 ล้าน | 0.226% | 0.186% | 0.136% |
10 ล้าน < X = 20 ล้าน | 0.186% | 0.156% | 0.116% |
X > 20 ล้าน | 0.156% | 0.126% | 0.106% |
เนื่องจาก ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 เป็นต้นมา การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ อันได้แก่ ค่าธรรมเนียมตลาดหลักทรัพย์ฯ (Trading Fee) ค่าธรรมเนียมการชำระราคาและส่งมอบ
หลักทรัพย์ (Clearing Fee) และค่าธรรมเนียมการกำกับดูแล (Regulatory Fee) จากมูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์ต่อวัน
ค่าธรรมเนียม อัตราร้อยละของมูลค่าการซื้อขายต่อวัน
- ค่าธรรมเนียมตลาดหลักทรัพย์ฯ 0.005%
- ค่าธรรมเนียมการชำระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ 0.001%
- ค่าธรรมเนียมการกำกับดูแล 0.0018%
วิธีการคำนวณ
หน้าจอที่ลูกค้าเห็น จะแสดงเฉพาะค่า Commission ที่บริษัทได้รับ (อัตรา 0.20%) ยังไม่รวม ค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 0.0078%
หากคำนวนด้วย (226,000 x 0.20%) + (226,000 x 0.0078%) = 452 + 17.628 = 469.628 บาท
แล้วนำค่าธรรมเนียมทั้งหมด 469.628 x VAT 7% = 32.874
ดังนั้นลูกค้าจะชำระค่าซื้อหลักทรัพย์รวมทั้งสิ้น 469.628 + 32.874 = 226,502.50 บาท
หากลูกค้าต้องการตรวจสอบรายระเอียดการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม สามารถตรวจสอบรายการย้อนหลังได้จากเมนู พอร์ตการลงทุน > ใบยืนยันการซื้อขายย้อนหลัง > เลือกรายการที่ต้องการตรวจสอบ หรือ ลูกค้าสามารถ ตรวจสอบรายการจาก ใบยืนยันการซื้อขายที่ส่งให้กับลูกค้าทางไปรษณีย์ ครับ
แต่เนื่องจากหน้าดังกล่าว (Online TradeZone) แสดงเฉพาะ ค่า Commission ยังไม่รวมค่าธรรมเนียมอื่นๆที่ตลาดฯเรียกเก็บเพิ่มเติมอีก 0.0078% ครับ
การแสดงเฉพาะค่า Commission อาจจะทำให้ลูกค้าเข้าใจผิด ว่า ระบบฯเรียกเก็บเงินไม่ถูกต้อง โดยที่จะดำเนินการปรับหน้าจอให้แสดงข้อมูลจาก "Com" เป็น "Total Fee" คาดว่าจะใช้เวลา 1 เดือน
โดยที่
Total fee รวมถึง Commission (0.2%) + trading fee (0.005%) + clearing fee (0.001%) + regulatory fee (0.0018%)
ที่มา topicstock.pantip.com , www.set.or.th , www.bualuang.co.th, www.thanachartsec.co.th
Relate topics
- ตัวแปรสำคัญที่สามารถจะอธิบายถึงลักษณะผลตอบแทนของบัฟเฟตต์
- บริษัทดี ๆ ที่มี ROE มากกว่า 25% ในปี 2557
- 3 ตัวช่วย รวยด้วยหุ้นเทคนิค จาก ออมมันนี่
- 4 ความผิดพลาดซ้ำซากในการเทรด
- สรุปหนังสือ “Beating the Street" ของ Peter Lynch โดย รู้ทันหุ้นบ่าย
- ช้อป 20 หุ้นหลบภัย P/E ต่ำ พื้นฐานดีราคามีอัพไซด์ :ยก RML-ANAN-SPALI
- 10 หุ้นปันผลเด่นจ่ายเกิน 5% ติดกัน 5 ปี
- งบ-ผลประกอบการอย่างย่อของทุกบริษัทในไตรมาส 3
- วิธีคำนวณผลตอบแทน - ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
- ผลจากราคาน้ำมันลดลง
- เจ้ามือกับรายย่อย
- หุ้นที่มีผลตอบแทนจากเงินปันผลสูงสุด 10 อันดับแรกของปี 2009-2014
- เข็มทิศลงทุน
- คำสอนนักลงทุน จาก ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
- หุ้นจ่ายปันผลสูง ปี 57
- หมัดน๊อก 35 หมัดบนสังเวียนชีวิตที่ผมชกมา 29 ปี ของ วอน์เรน บัฟเฟต
- วิถีมหาเศรษฐี
- หุ้นถูก PE และ PBV ต่ำกว่าตลาด เดือนสิงหาคม 2557
- "หุ้น 10 เด้ง" ของ...ปีเตอร์ ลินช์
- เทคนิคหาหุ้น 10 เด้ง แบบ Rakesh Jhunjhunwala เจ้าของฉายา Warren Buffet แห่ง India